หลักความเสมอภาคทางการเมืองในพระไตรปิฎก

  • ร.ต.ท.พิโรจน์ มีภูเวียง สำนักงานตำรวจแห่งชาติ
  • สถิตย์ กรมทอง มหาวิทยาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย วิทยาเขตศรีล้านช้าง

Abstract

            บทความวิชาการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อชี้ให้เห็นถึงลักษณะคำสอนทางพระพุทธศาสนาตามแนวทางความเสมอภาค พัฒนาการทางหลักความเสมอภาคในทางเมืองการปกครองแบบประชาธิปไตยของสงฆ์ และรูปแบบคำสอนของพระพุทธศาสนาว่าด้วยหลักความเสมอภาคในพระไตรปิฎก โดยได้ศึกษาจากพระไตรปิฎก แนวคิด ทฤษฎี และเอกสารงานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับแนวคิดทางการเมืองว่าด้วยหลักความเสมอภาคในพระไตรปิฎก พบว่าลักษณะของคำสอนทางพระพุทธศาสนาตามแนวทางความเสมอภาค คือ หลักการและแนวทางในการพัฒนาเมือง ให้มีวิถีชีวิตตามวิถีประชาธิปไตยนั้น สอดรับกับหลักการและแนวทางที่ปรากฏในพระพุทธศาสนาอย่างมีนัยสำคัญ เพราะพระพุทธศาสนาเป็นศาสนาที่เน้น และให้ความสำคัญต่อการพัฒนาพลเมืองของรัฐนับตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบัน พัฒนาการทางหลักความเสมอภาคในทางเมืองการปกครองแบบประชาธิปไตยของสงฆ์ ในพระพุทธศาสนา คือ การเผยแผ่พระพุทธศาสนาในยุคแรก พระพุทธเจ้าเป็นผู้ประทานการอุปสมบทหรือรับคนเข้าสู่พระพุทธศาสนาด้วยพระองค์เอง และรูปแบบคำสอนของพระพุทธศาสนาว่าด้วยหลักความเสมอภาคในพระไตรปิฎก คือหลักความเสมอภาค คือไม่เลือกปฏิบัติคือต้องเป็นไปตามกฎเกณฑ์หรือ กฎระเบียบของสังคมที่วางไว้ อปริหานิยธรรมข้อที่ 3 นั้นพระพุทธองค์ทรงเน้นเรื่อง หลักความเหมาะสมซึ่งหมายถึงการเอารับสิ่งที่ไม่ควรไม่เหมาะสมกับ สังคมไทยมาใช้และบัญญัติไว้


คำสำคัญ: หลักความเสมอภาค; การเมือง; พระไตรปิฎก;


 
Abstract

               The objectives of the academic article were to demonstrate the characteristics of Buddhist teachings on equality, the development of democratic equality in the council of Buddhist monks, so-called Sangha, and the Buddhist teachings on equality in the Tipitaka. The documentary research was conducted by reviewing the concepts, theories, and research documents on the political principle of equality in the Tipitaka. The research results revealed that the characteristics of Buddhist teachings on equality were involved with the principles and guidelines on development of city people’s lifestyle along with the democratic way of life. It was found significantly consistent with the Buddhist teachings. From past to present, Buddhism focused on development of the state citizens. Literally, the principle of equality was initially developed in Buddhism during the Buddha’s time. In the first period of Buddhism propagation, the Buddha himself allowed the people to be monks in Buddhism. Later, a group of monks was allowed to make a person a monk. This was regarded as equality in Buddhism. The principle of equality in the Tipitaka was referred to impartiality or something contradictory to discrimination, which meant any action under the social rules, regularities, and norms. In the third condition of walfare (Aparihāniya-dhamma), appropriateness, stressed by the Buddha, was referred to acceptance of what was improper and inappropriate to Thai society.


Keywords: Equality;  Politics;  Tipitaka;

Published
2021-12-31
How to Cite
มีภูเวียง, ร.ต.ท.พิโรจน์; กรมทอง, สถิตย์. หลักความเสมอภาคทางการเมืองในพระไตรปิฎก. วารสารศรีล้านช้างปริทรรศน์, [S.l.], v. 7, n. 2, p. 215, dec. 2021. ISSN 2350-9406. Available at: <http://800218.zqr6mfrgh.asia/index.php/jslc/article/view/1807>. Date accessed: 28 nov. 2024.