การมีส่วนร่วมทางการเมืองกับการพัฒนาระบอบประชาธิปไตย

  • ศตวรรษ สงกาผัน มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย

Abstract

            การมีส่วนร่วมทางการเมืองในระบอบประชาธิปไตยของไทยปรากฎว่าปัจจุบันภาคประชาชนยังเข้าไม่ถึงโดยเท่าที่ควร เนื่องจากเครื่องมือที่สำคัญในการพัฒนาสังคมและประเทศชาติในทางการเมืองก็คือ การมีส่วนร่วมทางการเมืองของภาคประชาชนที่สามารถจะพัฒนาคนให้มีคุณลักษณะตามที่สังคมต้องการที่จะต้องแสดงบทบาทให้สอดคล้องกับการเปลี่ยนแปลงของสังคมโดยรวม ปัจจุบันภาคประชาชนกำลังก้าวเข้าสู่ยุครุ่งเรืองของนวัตกรรมและวิวัฒนาการของเทคโนโลยี อันเป็นยุคที่ได้มาซึ่งระบอบการปกครองแบบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข ซึ่งมีความสลับซับซ้อน มีการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็วทำให้ภาคประชาชนและสังคมของไทยถึงเวลาปรับเปลี่ยนอีกครั้งทำให้ความต้องการทางด้านประชาธิปไตยไม่มีความสอดคล้องกับความต้องการบริบทของสังคมไทยได้อย่างมีประสิทธิภาพ รวมทั้งการเข้าใจในระบอบประชาธิปไตยในระดับท้องถิ่นรวมไปถึงระดับชาติในทางปกครองทุกระดับ ซึ่งมีความย้อนแย้งกับระบอบการปกครองประชาธิปไตยที่ไม่สามารถตอบสนองความต้องการของประชาชนได้ ซึ่งโดยภาคประชาชนหรือปวงชนชาวไทยทั้งประเทศ คือเจ้าของอำนาจอธิปไตยโดยแท้จริง


คำสำคัญ: การมีส่วนร่วมทางการเมือง;  การพัฒนา;  ประชาธิปไตย;


Abstract


                    The political participation in Thailand's democratic regime revealed that at present, the civil sector was probably unable to access. As regards, an important tool for political development of the society and the nation was the political participation of the civil sector, which was believed to develop people with the characteristics as the society needed. The people at present were required by the society to play their roles in accordance with the change of society. Currently, the civil sector entered the heyday of innovation and technological evolution, which was the period when the Democratic form of Government with the King as Head of State was very complicated with the rapid change. So, it was the time for another change because the civil sector and the society found their democratic need was inconsistent with the context of Thai society. At the same time, understanding of democracy from the local level to the national level was contradictory to the country’s democracy that was unable to meet with the people’s needs. As known, the civil sector, all Thai people over the country, were the owners of sovereignty in reality.  


Keywords: Political Participation;  Development;  Democracy;

References

กระมล ทองธรรมชาติ และคณะ. (2531). หลักประชาธิปไตย. กรุงเทพมหานคร: คณะรัฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

จรูญ สุภาพ. (2535). ระบบการเมืองเปรียบเทียบ. กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์วัฒนพานิช.

สมบัติ ธำรงธัญวงศ์. (2539). การเมือง แนวคิดและการพัฒนา. กรุงเทพมหานคร: สำนักพิมพ์เสมาธรรม.

สุลักษณ์ ศิวรักษ์. (2546). ปรัชญาการเมือง. กรุงเทพมหานคร: มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช.

อคิน รพีพัฒน์. (2547). การมีส่วนร่วมของประชาชนในงานพัฒนา. กรุงเทพมหานคร: ศูนย์ การศึกษานโยบายสาธารณสุข

อุทัย หิรัญโต. (ม.ป.ป.). สารานุกรมศัพท์ทางรัฐศาสตร์. กรุงเทพมหานคร: สำนักพิมพ์โอเดียนสโตร์

Sutee vichapron. (2557). ระบอบประชาธิปไตย. ออนไลน์. สืบค้นเมื่อ 21 มิถุนายน 2564. แหล่งสืบค้น http://krusutee.blogspot.com /2011/01/democracy.html.
Published
2021-12-31
How to Cite
สงกาผัน, ศตวรรษ. การมีส่วนร่วมทางการเมืองกับการพัฒนาระบอบประชาธิปไตย. วารสารศรีล้านช้างปริทรรศน์, [S.l.], v. 7, n. 2, p. 169, dec. 2021. ISSN 2350-9406. Available at: <http://800218.zqr6mfrgh.asia/index.php/jslc/article/view/1804>. Date accessed: 28 nov. 2024.