พระพุทธศาสนากับการพัฒนาเพื่อความยั่งยืน

  • พระครูสารกิจประยุต ประยุต

Abstract

บทความวิชาการเรื่องนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาการใช้หลักคำสอนทางพระพุทธศาสนา คือการใช้หลักทางสายกลาง หรือมัชฌิมาปฏิปทาเพื่อนำมาปรับใช้ในการพัฒนาเพื่อความยั่งยืนคือด้านสิ่งแวดล้อม ทำให้มีมากขึ้นจากการใช้เทคโนโลยีที่เหมาะสมและอนุรักษ์ทรัพยากรพื้นฐานให้มั่นคง ด้านสังคม มีการจัดสรรความเท่าเทียมกันในการใช้ทรัพยากรที่เป็นตัวชี้วัดพื้นฐานที่เพียงพอและจำกัดจำนวนประชากร และด้านเศรษฐกิจ ที่ต้องเติบโตอย่างเหมาะสมไม่ทำลายสิ่งแวดล้อมและความสมดุลในระบบนิเวศเพราะถ้าเราไม่นำหลักของทางสายกลางมาปรับใช้ก็จะไม่เกิดความยั่งยืน เพราะจะมีอย่างใดอย่างหนึ่งเกิน หรือหย่อนเกินไป เช่น ถ้ามีการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติมากเกินไปโดยไม่นำมาใช้ประโยชน์ก็จะกลายเป็นว่ามีของดีแต่ไม่นำมาใช้มันก็เสียเปล่า หรือถ้านำมาใช้มากเกินไปมุ่งเน้นแต่จะนำทรัพยากรธรรมชาติมาพัฒนาเศรษฐกิจ ก็จะทำให้เสียสมดุลไป ดังนั้นจึงมีความจำเป็นที่จะต้องนำหลักของทางสายกลางคือเป็นคำสอนของพระพุทธศาสนามาเป็นแนวทางในการพัฒนาเพื่อความยั่งยืนสืบไป


The purposes of this academic article wase to study implementation of the Buddhist principle, Majjhima-patipada or the middle path, to sustainable development in several aspects. In the environmental aspect, it should be made abundant by the usage of proper technologies and the stable conservation of fundamental resources. In the social aspect, the utilization of resources as thefundamental indicator was allotted equally and sufficiently to certain people, and in theeconomic aspect, it should be appropriately grown in progress and the environment and ecological balance should not be destroyed. As seen, sustainability was unavailable if the Buddhist principle of the middle path was not utilized because there might be something excessively overwhelmed or reduced. For example, if natural resources were excessively conserved and not utilized, availability of unutilized natural resources was seen useless. In case natural resources were over-abundantly utilized with the target to increase the country’s economy, existing natural resources were inevitably unbalanced.So, it was very important to take the Buddhist principle of the middle path as the guideline for further sustainable development.

References

ญาณภัทร ยอดแก้ว. (2552). พุทธศาสนากับแนวคิดเศรษฐกิจพอเพียง. บทความ. คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏนครปฐม.
พระธรรมปฎก (ป.อ.ปยุตฺโต). (2544). พุทธวิธีแกปญหาเพื่อศตวรรษที่ 21, พิมพครั้งที่ 9, (กรุงเทพมหานคร : สํานักพิมพมูลนิธิพุทธธรร.
_______. (2546). พุทธธรรม. พิมพ์ครั้งที่ 11. กรุงเทพมหานคร: มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.ฃ
_______. (2538). สฺยามรฏฺฐสฺส เตปิฏกํ. เล่มที่ 4, 12, 20, 25, 26, 34 และ 34. พิมพ์ครั้งที่ 4.กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพ์มหามกุฏราชวิทยาลัย.
มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. (2539). พระไตรปฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.
มหามกุฏราชวิทยาลัย. (2533). มังคลัตถทีปนีแปล เล่ม 4. พิมพ์ครั้งที่ 11. กรุงเทพมหานคร : มหามกุฏราชวิทยาลัย.
สำนักงานประสานงานนิทรรศการเฉลิมพระเกียรติฯ. (2549). สมุดบันทึกเศรษฐกิจพอเพียง. (พิมพ์แจกในงานนิทรรศการเฉลิมพระเกียรติฯเนื่องในโอกาสการจัดงานฉลองสิริราชสมบัติครบ 60ปี). กรุงเทพมหานคร : บริษัท อาร์ ซี แอล จำกัด (มหาชน).
วรรณสิทธิ ไวทยะเสวี. (2549). คู่มือการศึกษาพระพุทธศาสนา. กรุงเทพมหานคร: หจก.ทิพย์สุทธิ์ จำกัด.
ศุภวุฒิ สายเชื้อ. (2546). เศรษฐศาสตร์จานร้อน : ทุนนิยมฉบับชาวบ้าน
อภิชัย พันธเสน, ศ.ดร. และคณะ. (2550). สังเคราะห์องค์ความรู้เศรษฐกิจพอเพียง. พิมพ์ครั้งที่ 3. กรุงเทพมหานคร : สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.).
อภิชัย พันธเสน, ศ.ดร. (2551).การวิจัยและพัฒนาเพื่อขับเคลื่อนเศรษฐกิจพอเพียง. กรุงเทพมหานคร : ศูนย์ส่งเสริมและพัฒนาพลังแผ่นดินเชิงคุณธรรม (ศูนย์คุณธรรม)
Michael Redclift.(1994) .Sustainable Development : Economic and the Environment. In M. Redclift and C. Sage (eds.), Strategies for Sustainable Development : Local Agenda for the Southern Hemisphere, (U.K : John Wiley & Sons Ltd.).
World Commission On Environment And Development.(1987). Our Common Future, (New York Oxford University : Great Britain R.Clay Ltd.), พระธรรมปฎก (ป.อ.ปยุตฺโต) (2541). การพัฒนาที่ยั่งยืน. พิมพครั้งที่ 3. กรุงเทพมหานคร : สํานักพิมพมูลนิธิพุทธธรรม.
Published
2017-06-30
How to Cite
ประยุต, พระครูสารกิจประยุต. พระพุทธศาสนากับการพัฒนาเพื่อความยั่งยืน. วารสารศรีล้านช้างปริทรรศน์, [S.l.], v. 3, n. 1, p. 15, june 2017. ISSN 2350-9406. Available at: <http://800218.zqr6mfrgh.asia/index.php/jslc/article/view/1301>. Date accessed: 29 nov. 2024.