การประยุกต์ใช้หลักสันโดษเพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิต
Abstract
บทความนี้มีวัตถุประสงค์เพื่ออธิบายการประยุกต์ใช้ "หลักความสันโดษ" ซึ่งเป็นหนึ่งหลักธรรมที่สำคัญหลักหนึ่งในการปรับตัวเพื่อการใช้ชีวิตในสังคมปัจจุบัน สภาวะทางการเมืองเศรษฐกิจและสังคมมีผลกระทบต่อการดำรงอยู่ของชีวิตที่มีคุณภาพ การประยุกต์ใช้ความสันโดษเพื่อให้คนในสังคมเข้าใจธรรมชาติของตนเองมากขึ้น เนื่องจากความเร่งรีบในการดำเนินชีวิตและการดิ้นรนกับกระแสการเปลี่ยนแปลงทางสังคม การเมือง และเศรษฐกิจ คนส่วนใหญ่ในสังคมต่างพยายามที่จะหาปัจจัย 4 เพื่อประโยชน์ของตนเองมากเกินไป (เพราะพวกเขาคิดว่าการครอบครองทรัพยากรจำนวนมากคือความมั่นคงในชีวิต) บทความนี้เป็นการอธิบายเนื้อหาที่สอดคล้องกับสถานการณ์ปัจจุบันในมิติทางของพุทธศาสนาในการแก้ปัญหา อธิบายลักษณะของมนุษย์ การแสดงออกต่อตนเอง และผู้อื่นตลอดถึงการดำเนินชีวิตเพื่อการพัฒนาสู่สังคมอุดมคติ
References
บุศย์ ขันธวิทย์. (2538). ความสันโดษ.กรุงเทพมหานคร : สำนักพิมพธรรมนิติ.
ประเวศ วะสี. (2533). ทางรอด. กรุงเทพมหานคร : เจริญวิทยาการพิมพ์.
พระธรรมปิฎก (ป.อ.ปยุตโต). (2538). พจนานุกรมพุทธศาสตร์ฉบับประมวลธรรม.
กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพ์มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.
พระธรรมปิฎก (ป.อ.ปยุตโต). (2545). ธรรมะกับการทำงาน.กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพ์บริษัทสหธรรมิกจำกัด.
พระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ.ปยุตฺโต). (2539). นิติศาสร์แนวพุทธ. กรุงเทพมหานคร : สำนักพิมพ์พระพุทธศาสนาและธรรมสภา.
พระมหาวุฒิชัย วชิรเมธี. (2546). “บทบาทในการรักษาพระธรรมวินัยของพระธรรมปิฎก (ป.อ.ปยุตโต). บัณฑิตวิทยาลัย : มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.
สุพัตรา สุภาพ. (2545). ปัญหาสังคม.กรุงเทพมหานคร : ไทยวัฒนาพานิช.
สุเนตร ธนศิลปพิชิต. (2551). “ความเข้าใจเรื่องความสันโดษในพระพุทธศาสนาของนักเรียนมัธยมศึกษาที่เข้าค่ายคุณธรรม. บัณฑิตวิทยาลัย : มหาวิทยาลัยเชียงใหม่