การเสริมสร้างความเข้มแข็งของครอบครัวในสถานการณ์แพร่ระบาดของเชื้อไวรัสโควิด -19

Opportunities for strengthening of the family during the outbreak of the Covid-19 Virus

  • ว่าที่ร้อยตรีหญิงวาริณี โสภาจร สาขาวิชาสงเคราะห์ศาสตร์บัณฑิต คณะสังคมศาสตร์
  • พระครูธรรมคุต (สุทธิพจน์ สุทฺธิวจโน) สาขาวิชาสังคมวิทยาลัยและมานุษยวิทยา คณะสังคมศาสตร์
  • ณัฐชยา กำแพงแก้ว สาขาวิชาสังคมสงเคราะห์ศาสตร์ คณะสังคมศาสตร์

Abstract

บทคัดย่อ


บทความนี้มีจุดมุ่งหมายเพื่อศึกษา การเสริมสร้างความเข้มแข็งของครอบครัว ในสถานการณ์แพร่ระบาดของเชื้อไวรัสโควิด -19  เพื่อชี้ให้เห็นมุมมองการสร้างความเข้มแข็งภายในครอบครัว ผ่านมิติที่เกิดความไม่แน่นอนในสังคม จากการแพร่ระบาดดังกล่าว การอธิบายความสำคัญของสถาบันครอบครัว ที่มีผลต่อการพัฒนาสังคม หรือเป็นปัจจัยหลักในการผลิตสมาชิกที่มีคุณภาพให้กับสังคม แต่เนื่องด้วยสถานการณ์ความสัมพันธ์ หรือความเข้มแข็งในครอบครัว จากสถานการณ์ครอบครัวที่มีการสำรวจอย่างต่อเนื่องในรอบหลายปี ที่ผ่านมานั้น ล้วนสะท้อนให้เห็นภาพลักษณ์ในมิติความสัมพันธ์ที่อ่อนแอลงไปทุกปี (กรมกิจการสตรีและสถาบันครอบครัว 2559)  ค่านิยมทางวัตถุส่งผลให้ครอบครัวไม่สามารถทำบทบาทหน้าที่ได้อย่างสมบูรณ์และสัมพันธภาพครอบครัวเสื่อมถอยลง  ทำให้บรรยากาศขาดความอบอุ่น อีกทั้งครอบครัวในปัจจุบันเผชิญกับภาวการณ์เปลี่ยนแปลง อันเป็นผลมาจากปัจจัยภายในครอบครัวและปัจจัยแวดล้อมในชุมชน สังคม และสิ่งแวดล้อม           ที่เปลี่ยนแปลงไปตามกระแสโลกาภิวัตน์ และความก้าวหน้าของเทคโนโลยี ทำให้ความสัมพันธ์และรูปแบบการดำเนินชีวิตของครอบครัวไทยในปัจจุบันมีความแตกต่างไปจากครอบครัวไทยในอดีต (พัชรี พลศรี, 2560)


            ดังนั้น  เมื่อผลกระทบที่มีการสั่งให้หยุดชะงักทุกอย่างในสังคมทั่วทุกด้าน จากสถานการณ์แพร่ระบาดของเชื้อไวรัสโควิด -19 การเสริมสร้างความเข้มแข็งของครอบครัว ในสถานการณ์แพร่ระบาดนี้ จึงเป็นสิ่งสำคัญประการแรก ที่ถือเป็นโอกาสที่ดีในการลดช่องว่างความห่างเหินของสมาชิกในครอบครัว พร้อมกับการฟันฝ่าอุปสรรคสำคัญที่เป็นปัญหาระดับประเทศ การตั้งกติกาใหม่ร่วมกันเพื่อรับมือความเปลี่ยนแปลงในการดำรงชีวิตให้ปลอดภัยจากโควิด-19  ด้านสุขอนามัย โดยเฉพาะครอบครัว 3 รุ่น  ที่มีผู้สูงอายุ และลูกหลานอยู่ร่วมกัน พ่อแม่ ต้องปลูกฝังให้ความรู้ ความเข้าใจ การดูแลปฏิบัติตัวที่ถูกต้องตาม หลักสุขอนามัย การสร้างความสัมพันธ์ในแน่นแฟ้นมากขึ้นของสมาชิกในครอบครัวผ่านกิจกรรมต่าง ๆ ที่ทำร่วมกันในครอบครัวจากเวลาที่ได้อยู่ร่วมกันเพิ่มขึ้น และการรักษาสภาพจิตใจของสมาชิกในครอบครัวอันเกิดจากสถานการณ์ที่เปลี่ยนแปลงได้ทุกวัน สิ่งเหล่านี้ล้วนเป็นโอกาสในการปิดช่องว่างที่เคยห่างหายไปของสมาชิกในครอบครัวชี้ให้เห็นว่าวิกฤติการณ์การแพร่ระบาดของโควิด-19 ถือได้ว่า ยังมีมิติแห่งโอกาสเชื่อมความสัมพันธ์ของสมาชิกในครอบครัวได้ใช้เวลาในการเปลี่ยนแปลงและต้องการปรับตัวอย่างรวดเร็วของสังคมไทยและสังคมโลก


Abstract:


          This objective was to cultivate, to strengthening to the family during Covid -19 Virus outbreak  situation and to point out the strengthening of family in this uncertain over the outbreak of Covid Virus -19 situation. From during this situation need an explanation of an importance of the family, an effecting on social development or become a main factor of a quality family member to social development . But from an importance of the family and the family strengthening, Has been continuously surveys for so many years, the result showing that family relationship been weakness in every year. The Department of   Women’s Affairs and Family Development (B.E. 2016) An object values has been disrupt the family relationship and become an incomplete family duties without respect, warm or happiness. The Family currently situation has been transition determinant from family, Community, Society and Environment according to the world globalization, technology.  Those reason has currently changed the family relationship and family  life style difference from Thai family in the past. (Patcharee Phonsri,B.E. 2017)


       Therefore, An effect in all social development has been drop during Covid-19 Virus outbreak is the most important to institute strengthening of the family. This is the great opportunities to reduce the  family distant  between a family members .  And the national trouble breakthrough with new rule   under the new social subsistence and safe from Covid Virus -19. Specially 3 kid of generation people part of hygiene  included an elderly people and young children, Parents must be well educated ,understanding, and practicing with standard hygiene, according of more time together, the parents should also cultivate the family relationship over the family activities  and  recovering mental status during situation which it has been changed all the times. All of this great opportunities is the right time to resolved the family relationship trouble. Covid Virus-19 Outbreak has showing that there are also a great opportunities to reduced the family member relationship, also family member could take time preparing for new normal life with new rule of Thai society and new rule of world society.

References

พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน. (2525). ความหมาย ครอบครัว. กรุงมหานคร ฯ: สำนักพิมพ์ไทยวัฒนาพานิช จำกัด.

พระมหาสมปอง ปัจโจปการี. (2553). มนุษย์กับสังคม. กรุงเทพ ฯ: สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

พูนสุข เวชวิฐาน. (2557). ทฤษฎีครอบครัวเบื้องต้น. กรุงเทพ ฯ: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

ยุบลวรรณ ตั่นเธียรรัตน์. (2557). มนุษย์กับสังคม Man and Society. พิมพ์ครั้งที่ 15. กรุงเทพ ฯ : สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยกรุงเทพ

สนอง ปัจโจปการี. (2553). มนุษย์กับสังคม. กรุงเทพ ฯ: แอคทีฟ พริ้นท์.

พระครูธรรมคุต (สุทธิพจน์ สุทฺธิวจโน), พระมหาอรุณ ปญฺญารุโณ และ กัญจิรา วิจิตรวัชรารักษ์. (2563). สังคมเมืองในช่วงสถานการณ์โรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019. วารสารศึกษาศาสตร์, 8(1), 268-269.

พลศรีพ, สีหบัณฑ์ก, กิติรัตน์ สีหบัณฑ์ และบุณยสฤษฎ์ อเนกสุข. (2017). แนวทางการสร้างความเข้มแข็งของครอบครัวในชุมชนแออัด จังหวัดอุบลราชธานี. วารสารวิชาการ มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร, 7(1), 64-73.

ชลิฏฐา พรหมประเสริฐ. (2556). สัมพันธภาพในครอบครัวกับความสุขในการทำงานของพนักงาน : ศึกษาเฉพาะกรณีพนักงานสายงานรองผู้ว่าการเชื้อเพลิงและสายงานรองผู้ว่าการระบบส่ง การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย. วารสารมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม,32,54-69.

จำลอง สิงห์คำ. (2563). ความสัมพันธ์ระหว่างสภาพแวดล้อมครอบครัวกับผลการเรียน ของนักเรียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ ชั้นปีที่ 1 แผนกวิชาช่างอิเล็กทรอนิกส์ วิทยาลัยการอาชีพฝาง(รายงานการวิจัย). เชียงใหม่. วิทยาลัยการอาชีพฝาง. สืบค้น วันที่ 24 กรกฎาคม 2563 จาก http://fve.ac.th/car/2555/term1/027.pdf

พรรณทิพย์ ศิริวรรณบุศย. (2562). บทบาทครอบครัวในการพัฒนาคนสู่สังคม : บรรยายในการประชุมของคณะกรรมการศึกษาและพัฒนาความรู้ทางจิตวิทยาและสังคม เมื่อวันพุธที่ 20 กุมภาพันธ์ 2562.สืบค้นเมื่อ 2 กรกฎาคม 2563 จาก http://www.royin.go.th/wp-content/uploads/2019/05/

สรายุทธ เพ็ชรซีก. (2553). ปัจจัยทางครอบครัวที่ส่งผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียน ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น: ศึกษากรณีโครงเรียนมีนประสาทวิทยา เขตมีนบุรี กรุงเทพมหานคร (วิทยานิพนธ์) กรุงเทพ ฯ: สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์.

กรมกิจการสตรีและสถาบันครอบครัว กระทรวงพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์. (2559). นโยบายและยุทธศาสตร์การพัฒนาสถาบันครอบครัว พ.ศ. 2560-2564. สืบค้นวันที่ 9 กรกฎาคม 2563 จาก http://www.samutsongkhram.m-society.go.th/new/wp-content/uploads/2018/08/

กรมควบคุมโรค. (2563). สถานการณ์โรคติดเชื้อโคโรนา 2019 (Covid-19) ในประเทศไทย. สืบค้นวันที่ 4 สิงหาคม 2563 จาก https://ddc.moph.go.th/viralpneumonia/index.php

กรมสุขภาพจิต กระทรวงสาธารณสุข. (2563). การสร้างสัมพันธภาพในครอบครัว ช่วง โควิด-19 แพร่ระบาด. สืบค้นวันที่ 9 กรกฎาคม 2563 จาก https://www.dmh.go.th/main.asp

กองส่งเสริมสถาบันครอบครัว. (2562). นิยามครอบครัว : การประชุมคณะกรรมการนโยบายและยุทธศาสตร์ครอบครัว (กยค.) ครั้งที่ 2/2562. สืบค้นเมื่อ 3 กรกฎาคม 2563
จาก https://www.facebook.com/divisionoffamily/.

กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์. (2563). คู่มือตรวจวินิจฉัย โรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (Covid-19) ห้องปฎิบัติการ SARS-CoV-2. สืบค้นวันที่ 3 สิงหาคม 2563 จาก
https://www.pidst.or.th/A816.html

คณะกรรมการส่งเสริมและประสานงานสตรีแห่งชาติ. (2542). นโยบายและแผนงานในการพัฒนาสถาบันครอบครัว. สืบค้นเมื่อ 4 สิงหาคม 2563 จาก https://1th.me/9QLAy

ภูดิศ จงวาณิช, ธัญญศิริ ศรีธัญญา ณัฏฐรินทร์ คำอ่อง เเละทัศนีย์ มั่นรักคง. (2556). การสร้างสัมพันธภาพ. สืบค้นวันที่ 1 สิงหาคม 2563 จาก https://1th.me/VdC0i

สมาคมนักระบาดวิทยาภาคสนามแห่งประเทศไทย. (2563). โรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019. สืบค้นวันที่ 4 สิงหาคม 2563 จาก https://www.pidst.or.th/A838.html

สมาคมโรคติดเชื้อในเด็กแห่งประเทศไทย. (2563). เชื้อก่อโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019. สืบค้นวันที่ 4 สิงหาคม 2563 จาก https://1th.me/RD1n8

สำนักงานกิจการสตรีและสถาบันครอบครัว กระทรวงพัฒนาสังคม และความมั่นคงของมนุษย์ (สค.). (2563). ความเข้มแข็งของครอบครัวไทยในภาพรวม. สืบค้นเมื่อ 2 กรกฎาคม 2563 จาก http:// stat.thaifamily.in.th

วิศัลย์ มูลศาสตร์. (2563). การบริหารจัดการด้าน การรับ-ส่ง การจัดการมูลฝอย การทำความสะอาด. สืบค้นวันที่ 3 สิงหาคม 2563 จาก https://www.pidst.or.th/A829.html
Published
2020-12-09
How to Cite
โสภาจร, ว่าที่ร้อยตรีหญิงวาริณี; (สุทธิพจน์ สุทฺธิวจโน), พระครูธรรมคุต; กำแพงแก้ว, ณัฐชยา. การเสริมสร้างความเข้มแข็งของครอบครัวในสถานการณ์แพร่ระบาดของเชื้อไวรัสโควิด -19. วารสาร ศึกษาศาสตร์ มมร, [S.l.], v. 8, n. 2, dec. 2020. ISSN 2408-199X. Available at: <http://800218.zqr6mfrgh.asia/index.php/edj/article/view/1145>. Date accessed: 01 dec. 2024.