สุนทรียศาสตร์อุโบสถวัดร่องขุ่น

Aesthetic in Ubosoth of Wat Rong khun

  • พระจาตุรงค์ ชูศรี วัดวิเศษการ กรุงเทพมหานคร

Abstract

        ในบทความนี้ผู้เขียนต้องการวิเคราะห์ให้เห็นถึงมุมมองทางด้านสุนทรียศาสตร์ว่าด้วยเกณฑ์ ตัดสินความงามในลัทธิจิตวิสัยหรืออัตนัยนิยม (Subjectivism) ลัทธิวัตถุวิสัยหรือปรนัยนิยม (Objectivism) และประโยชน์ ลักษณะของความงาม และมุมมองพุทธสุนทรียศาสตร์ที่มีต่ออุโบสถวัดร่องขุ่น แนวคิดทาง ตะวันตกได้สะท้อนและให้ความสำคัญในเชิงปรัชญาในข้อถกเถียงว่าความงามเป็นสิ่งที่มีอยู่จริง สามารถ ตรวจสอบหรือพิสูจน์ได้ และให้ความสำคัญกับประโยชน์ด้วย ส่วนพระพุทธศาสนาให้ค่าหรือน้ำหนักในแง่ ของประโยชน์และเป็นเครื่องมือในการสื่อธรรมหรือแสดงธรรมไปด้วย ดังนั้น ปรากฏได้ว่า อุโบสถวัดร่องขุ่น แสดงให้เห็นถึง ความดี ความงามและความจริงที่ปรากฏ ตามแนวคิดทางด้านสุนทรียศาสตร์ตะวันตก และยังมีความสัมพันธ์กับพระพุทธศาสนาที่สะท้อนให้เห็นในแง่มุมของประโยชน์ที่ไม่เพียงสะท้อนเพียง ความดี ความงามและความจริงเท่านั้น


        This Article critical the point of view in the Criteria of Aesthetic; Subjectivism, Objectivism and Benefit. The Character of beauty and the point of Buddhist Aesthetic to Ubosoth of Wat Rong khun. In the point of views in western reflect and given the philosophical meanings of argument in beauty is the reality can prove and the benefit values too. In the rational of Buddhism given the values or the benefits and the implementation Dharmma too. So, Ubosoth of Wat Rong khun show the goodness, beauty and truth in the Aesthetic in the western and similar with Buddhism but the Buddhism will given benefits, goodness beauty and truth too

References

จินดา จันทร์แก้ว. (2545). คุณวิทยาคืออะไร ? วาทกรรมว่าด้วยความจริง ความดีและความงาม. กรุงเทพฯ:
ปณิธานธรรม.
เดือน ค าดี. (2530). ปัญหาปรัชญา. กรุงเทพฯ: โอ.เอส.พรินติ้งเฮาส์.
มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. (2539). พระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.
กรุงเทพฯ: มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.
ราชบัณฑิตยสถาน. (2543). พจนานุกรมศัพท์ปรัชญา อังกฤษ-ไทย ฉบับราชบัณฑิตสถาน. พิมพ์ครั้งที่ 3.
กรุงเทพฯ: ราชบัณฑิตยสถาน.
สมเด็จพระพุทธโฆสาจารย์ (ป.อ.ปยุตโต). (2559). พุทธธรรม ฉบับปรับขยายความ. พิมพ์ครั้งที่ 47.
กรุงเทพฯ: ส านักพิมพ์ผลิธัมม์.
สมัคร บุราวาศ. (2555). ปรัชญาเถรวาท. กรุงเทพฯ: มหามกุฏราชวิทยาลัย.
Somparn Promta. (2011). CLASSICAL INDIAN PHILOSOPHY. Bangkok: Chulalongkorn University
Press.
Yang Tianwen (Compiler), Tony Blishen (Translator). (2012). The Art of Attainment : Quotations
from Chinese Wisdom. USA: Shanghai Press and Publishing Development Company.
http://www.bansansuk.com/travel/Rhongkhuntemple/
http://www.dooasia.com/trips/watrongkhun/
Published
2020-06-05
How to Cite
ชูศรี, พระจาตุรงค์. สุนทรียศาสตร์อุโบสถวัดร่องขุ่น. วารสาร สังคมศึกษา มมร, [S.l.], v. 1, n. 1, p. 39 - 50, june 2020. ISSN 2697-603X. Available at: <http://800218.zqr6mfrgh.asia/index.php/josmbu/article/view/683>. Date accessed: 28 nov. 2024.